วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

ผังมโนทัศน์


บทวิเคราะห์

             บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง สามารถนำมาวิเคราะห์และประเมินคุณค่าในด้านต่างๆได้ดังนี้
1.คุณค่าด้านความรู้
       เรื่องอิเหนา  ตอนศึกกะหมังกุหนิง  กวีแทรกความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ไว้มากมายโดยเฉพาะเรื่องการรบในสมัยก่อน  เราจะได้รู้จักประเภทข อ่านเพิ่มเติม

ความรู้เพิ่มเติม

อิเหนาเป็นบทละครรำพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช รัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญที่สุดในสมัยนี้หลาย เรื่องได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของวรรณคดี  และทรงได้รับการเทิดพระเกียรติจากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในฐานะบุคคลสำคัญของโลก

ข้อคิดที่ได้รับ

1.ความรักและความหลงใหลควรรู้จักแยกแยะให้ออกระหว่างความรักและควาหลง
2.รักษาคำสัตย์ การรู้จักรักษาคำพูดเมื่อพูดอย่างไรก็ต้องทำตาม
3.ความกล้าหาญ ไม่หวาดหวั่นพรั่นพรึงต่อข้าศึกศัตรู
4.การรู้จักให้อภัย การไม่ถือโทษโกรธแค้นกันและกัน
5.ความรักในศักดิ์ศรี การมีขัตติยมานะหรือความสำนึกในเกียรติแห่งวงศ์ขอตนเอง

จุดมุ่งหมายในการเเต่ง

1.เพื่อใช้เล่นละครใน ละครในเป็นละครที่เล่นกันในวัง ใช้ผู้หญิงแสดงล้วนๆท่าทางร่ายรำงดงาม อ่อนช้อย เครื่องแต่งกายประดับตกแต่งอย่างสวยงาม คำร้องและทำนองเพลงไพเราะ

2. เพื่อป้องกันการสูญหาย และรักษาไว้เป็นมรดกของชาติสื อ่านเพิ่มเติม

ลักษณะการเเต่ง

                  กลอนบทละคร เป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งแต่งขึ้นเพื่อใช้ในการเล่นละคร ต้องอาศัยทำนองขับร้องและเครื่องดนตรีประกอบ แต่งเสร็จต้องนำไปซักซ้อมปรับปรุง ดังนั้น จำนวนคำของแต่ละวรรคจึงไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับจังหวะขับร้องเป็นสำคัญ ว่าโดยหลักมีแต่ ๖ คำ ถึง ๙ คำ แต่ที่ปรากฏว่าใช้มากสุด คือ ๖ คำ เช่นเรื่องรามเกียรติ์ เฉพ อ่านเพิ่มเติม

ที่มาและความสำคัญ


คำศัพท์ที่น่าสนใจ

เกศี
ปอยผมกลางกระหม่อมพระทุรคาหัว
คชกรรม์
กิจการในทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง เช่น การขี่
คชา
ช้าง
จตุรงค์
มีสาขา ๔ คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ,ถ้าเข้าสมาสกับ พล เป็นจตุรงคพล
ชันษา
อายุ
ธำมรงค์
แหวน
นคเรศ
เมือง,จังหวัด
นฤมล
ไม่มีมลทิน

เนื้อเรื่องย่อ

             ด้านกษัติร์ย์อีกวงศ์หนึ่งคือ ท้าวกะหมังกุหนิง มีพระโอรสคือ วิหยาสะกำ ครองเมืองปาหยัง  และโอรสอีกพระองค์ครองเมืองปะหมันสลัด วันหนึ่งวิหยาสะกำได้เสด็จประพาสป่า ได้เจอรูปนางบุษบาที่หายไป จึงคลั่งไคล้นางบุษบาเป็นอย่างมาก ท้าวกะหมังกุหนิงจึงสืบเรื่องและให้ทูตไปสู่ขอ แต่ท้าวดาหาได้ยกนางบุษบาให้จรกาไปแล้ว ท้าวกะหมังกุหนิง จึงตั้งใจจะยกทัพมาแย่งชิงนางบุษบาไป โดยให้ระตูปาหยังและระตูปะหมัน พระอนุชายกทั  อ่านเพิ่มเติม

ลักษณะคําประพันธ์

         บทละครรำ เรื่อง อิเหนา มีรูปแบบการแต่งกลอนบทละครซึ่งมีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพ แต่ละวรรคมักจะขึ้นต้นด้วยคำว่า เมื่อนั้น” “บัดนั้นและ มาจะกล่าวบทไป”  กลอนบทละคร บทหนึ่งมี ๔ วรรค วรรคละ ๖ คำ หนึ่งบทมี ๒ บาท เรียกว่าบาทเอก  และบาทโท ๑ บาท เท่ากับ ๑ คำกลอน   มีลักษ อ่านเพิ่มเติม


ประวัติผู้แต่ง

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเต็มเมื่อขึ้นครองราชย์ว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทรา ธาดาธิบดี ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิเบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ซึ่งเหมือ อ่านเพิ่มเติม

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

อิเหนา เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เป็นบทละครรำที่พร้อมเพรียงทั้งเนื้อหา ความไพเราะ กระบวนการเล่นละคร และยังสะท้อนถึงประเพณีไทยในอดีต โดยแม้บทละครรำเรื่อง อิเหนา จะมีพื้นเพมาจากชวา แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก็ทรงปรับแก้ให้เข้ากับธรรมเนี อ่านเพิ่มเติม