วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

ผังมโนทัศน์


บทวิเคราะห์

             บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง สามารถนำมาวิเคราะห์และประเมินคุณค่าในด้านต่างๆได้ดังนี้
1.คุณค่าด้านความรู้
       เรื่องอิเหนา  ตอนศึกกะหมังกุหนิง  กวีแทรกความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ไว้มากมายโดยเฉพาะเรื่องการรบในสมัยก่อน  เราจะได้รู้จักประเภทข อ่านเพิ่มเติม

ความรู้เพิ่มเติม

อิเหนาเป็นบทละครรำพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช รัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญที่สุดในสมัยนี้หลาย เรื่องได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของวรรณคดี  และทรงได้รับการเทิดพระเกียรติจากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในฐานะบุคคลสำคัญของโลก

ข้อคิดที่ได้รับ

1.ความรักและความหลงใหลควรรู้จักแยกแยะให้ออกระหว่างความรักและควาหลง
2.รักษาคำสัตย์ การรู้จักรักษาคำพูดเมื่อพูดอย่างไรก็ต้องทำตาม
3.ความกล้าหาญ ไม่หวาดหวั่นพรั่นพรึงต่อข้าศึกศัตรู
4.การรู้จักให้อภัย การไม่ถือโทษโกรธแค้นกันและกัน
5.ความรักในศักดิ์ศรี การมีขัตติยมานะหรือความสำนึกในเกียรติแห่งวงศ์ขอตนเอง

จุดมุ่งหมายในการเเต่ง

1.เพื่อใช้เล่นละครใน ละครในเป็นละครที่เล่นกันในวัง ใช้ผู้หญิงแสดงล้วนๆท่าทางร่ายรำงดงาม อ่อนช้อย เครื่องแต่งกายประดับตกแต่งอย่างสวยงาม คำร้องและทำนองเพลงไพเราะ

2. เพื่อป้องกันการสูญหาย และรักษาไว้เป็นมรดกของชาติสื อ่านเพิ่มเติม

ลักษณะการเเต่ง

                  กลอนบทละคร เป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งแต่งขึ้นเพื่อใช้ในการเล่นละคร ต้องอาศัยทำนองขับร้องและเครื่องดนตรีประกอบ แต่งเสร็จต้องนำไปซักซ้อมปรับปรุง ดังนั้น จำนวนคำของแต่ละวรรคจึงไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับจังหวะขับร้องเป็นสำคัญ ว่าโดยหลักมีแต่ ๖ คำ ถึง ๙ คำ แต่ที่ปรากฏว่าใช้มากสุด คือ ๖ คำ เช่นเรื่องรามเกียรติ์ เฉพ อ่านเพิ่มเติม

ที่มาและความสำคัญ